4033103
1. รหัสและชื่อรายวิชา : รหัสวิชา 4033103
ชื่อภาษาไทย อนุกรมวิธาน /ชื่อภาษาอังกฤษ Taxonomy
2. จำนวนหน่วยกิต : บรรยาย-ปฏิบัติ
3(2-3-5) บรรยาย 2 หน่วยกิต
ปฏิบัติ 3 หน่วยกิต
3. คำอธิบายรายวิชา
ความรู้พื้นฐานในการจำแนกสิ่งมีชีวิต หลักเกณฑ์ในการจัดจำแนกประเภทสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ การสร้างไดโคโตมัสคีย์ (Dichotomous Key) จากตัวอย่างในห้องปฏิบัติการและภาคสนาม การรวบรวมและเก็บตัวอย่าง การศึกษาภาคสนาม
1. รหัสและชื่อวิชา
2001102 ศาสตร์พระราชา
(King's Science)
2. จำนวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3(2 – 2 – 5)
3. คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
ประวัติความเป็นมามหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ความหมายและเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ๕ มิติ หัวใจศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กรณีศึกษาความสำเร็จเชิงประจักษ์ การจัดการน้ำ ดิน สิ่งแวดล้อม เกษตร และเศรษฐกิจพอเพียง
นวัตกรรมโครงงานสืบสานศาสตร์พระราชา
ชื่อวิชา
รหัสวิชา
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติกระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ด้วยสหวิชาต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนานวัตกรรมชุมชน ท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม การปรับตัว ความสัมพันธ์กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม และการเลือกใช้สื่อ |
1.ชื่อวิชา
การใช้เครื่องมือทางชีววิทยา(Instruments Usage in Biology)
2. รหัสวิชา
4032207หน่วยกิต 3 (2-3-5)
3. คำอธิบายรายวิชา
หลักการและการทำงานของเครื่องมือพื้นฐาน และเครื่องมือที่ใช้ในงานเฉพาะสาขาชนิดต่าง ๆ
ที่จำเป็นต้องใช้ในการศึกษาและวิจัยทํางชีววิทยา ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์พื้นหลังสว่าง-พื้นหลังมืด
กล้องจุลทรรศน์เฟสคอนทรําสท์ กล้องจุลทรรศน์ฟลูเรสเซนซ์ กล้องจุลทรรศน์อินเวิร์ตเทสกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
เครื่องชั่ง เครื่องวัดควํามเป็นกรด-ด่ําง เครื่องปั่นเหวี่ยง เครื่องวัดกํารดูดกลืนแสง เครื่องวัดกํารดูดกลืนแสงโดยอะตอม
เครื่องแก๊สโครมําโทกรําฟีเครื่องแยกสํารเหลวประสิทธิภําพสูง เครื่องวัดค่ําชลศักย์ เครื่องวัดอัตรํากํารสังเครําะห์ด้วยแสง
เครื่องเพรสเซอร์บอมบ์ เครื่องยิงอนุภําค เครื่องอิเล็กโทรโฟรีซิส เครื่องเพิ่มปริมําณชิ้นส่วนดีเอ็นเอ เครื่องระเหยสุญญํากาศ เป็นต้น การศึกษานอกสถานที่
1. รหัสและชื่อวิชา 4031103
ชื่อวิชาภาษาไทย ปฏิบัติการชีววิทยา 1
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Biological Laboratory I
2. จำนวนหน่วยกิต
1 หน่วยกิต 1(0-3-1)
3. คำอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติการเรื่องการแลกเปลี่ยนสาร เช่น การแพร่ ออสโมซิส เอนไซม์ การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ การขนส่ง การคายน้ำ การทำงานระบบต่างๆ เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ฮอร์โมนสัตว์ ฮอร์โมนพืช พันธุศาสตร์ พฤติกรรม การปรับตัว ระบบนิเวศ การจัดการทัพยากรและสิ่งแวดล้อม